曼松德•昭帕亚皇家师范大学孔子学院
สถาบันขงจื้อแห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

☆学院概况

曼松德•昭帕亚皇家师范大学孔子学院是经国家汉办批准,由泰国曼松德•昭帕亚皇家师范大学和中国天津师范大学合作承办的一所突出“教师教育”特色的孔子学院。2006年12月19日在泰国曼谷国家文化中心举行了揭牌仪式。

☆สภาพทั่วไปของสถาบันขงจื้อ

สถาบันขงจื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาเกิดจากความร่วมมือเฉพาะด้าน
ในด้านครุศาสตร์ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาและมหาวิทยาลัยครูเทียนสิน ซึ่งได้รับความอนุญาตจากฮั่นปั้น(สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ) ในวันที่ 19 ธันวาคม ปี พ.ศ.2549 สถาบันขงจื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้จัดพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งชาติ กรุงเทพฯ


☆孔子学院的目标

曼松德•昭帕亚皇家师范大学孔子学院 以增进泰国人民对中国语言文化了解,加强中国与泰国文化交流合作,发展中国与泰国友好关系,促进世界多元文化,为构建和谐世界贡献力量为宗旨,中泰双方相互尊重,坦诚相待,真诚合作,开展汉语教学,培养汉语师资,为社会提供汉语服务,开展了中国教育,文化等信息咨询及交流活动。

------- 共同合作,努力培养中文师范专业本科生
------- 为社区服务,积极开办汉语培训班
------- 为满足泰国汉语教育对本土化汉语教师的需求,认真 做好汉语培训工作
------- 组织中国文化专题讲座和文化活动
------- 开展中台教育文化交流活动

☆วัตถุประสงค์หลักของสถาบัน
วัตถุประสงค์หลักของสถาบันขงจื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คือ สนับสนุนให้คนไทยมีความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของประเทศจีน เสริมสร้างความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอันหลากหลายของโลก ทำให้เกิดความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างไทย-จีน ปฏิบัติและร่วมมือกันด้วยความจริงใจ ทำให้การเรียนการสอนและการฝึกอบรมครูอาจารย์ที่มีความรู้ด้านภาษาจีนเป็นที่แพร่หลาย รับใช้สังคมในด้านการเรียนการสอนภาษาจีน เผยแพร่การศึกษาและวัฒนธรรมของประเทศจีน ให้ความรู้ในด้านข่าวสารต่างๆและส่งเสริมกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน เช่น

  • ร่วมสนับสนุนการเรียนด้านครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน ในระดับปริญญาตรี
  • ช่วยเหลือสังคมในการเปิดคอร์สการอบรมภาษาจีน
  • ช่วยเหลือคณาจารย์ในประเทศไทยและมีความพยามยามอย่างจริงจังในการจัดอบรมครูอาจารย์ผู้มีความรู้ในด้านภาษาจีนอย่างลึกซึ้ง

☆学院的办学条件:

学院现有办公场地1100平方米,设有办公室、多媒体教室、会议室、接待室、中国文化特色展室、中国图书阅览室等。学院现有相对稳定的教师队伍,公派教师3人,汉语教师志愿者7人。

☆ที่ตั้งของสถาบันขงจื้อ

ปัจจุบันสถาบันขงจื้อมีพื้นที่ทั้งหมด 1100 ตารางเมตร ประกอบด้วยห้องทำงาน ห้องประชุม ห้องเรียน ห้องรับรอง ห้องแสดงวัฒนธรรมจีน ห้องสมุด เป็นต้นขณะนี้สถาบันได้มีคณาจารย์ในตำแหน่งราชการ ๓ ท่าน และอาจารย์อาสาสมัคร ๗ คน